Vol 3, No 2 (2011)

แนวปฏิบัติที่ดีทางวิศวรรม: Good Engineering Practice

 

Good engineering practice or GEP is a term applied to engineering and technical activities to ensure that a company manufactures products of the required quality as expected by the relevant regulatory authorities. Good engineering practices are to ensure that the engineering or software development methodology generates deliverables that support the requirements for qualification or validation. Good engineering practices are applied to all industries that require engineering.

 

 

 

แนวปฏิบัติที่ดีทางวิศวกรรม  เป็นศัพท์ที่หมายถึงต้นแบบกิจกรรมต่าง ๆ ในการวิศวกรรมหรือการใช้เทคนิคที่เมื่อนำไปปฏิบัติแล้วจะทำให้ บริษัทหรือผู้ผลิตสามารถผลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพต้องตามความคาดหวังจากลูกค้าและมีคุณภาพอย่างแน่นอน  แนวปฏิบัติที่ดี ประกอบด้วย ตัวอย่าง ประสบการณ์ หรือวิธีทำงาน ที่สามารถนำไปอ้างอิงเพื่อให้แน่ใจว่าการวิศวกรรม การสร้าง หรือวิธีการพัฒนาสิ่งต่าง ๆ  ตั้งแต่ ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ ผลิตภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง หรือกระบวนการ นั้นสามารถส่งมอบผลผลิตที่ที่ตรงกับความต้องการ รองรับการมาตรฐาน ซึ่งแนวปฏิบัติที่ดีทางวิศวกรรมสามารถนำไปอ้างอิง ประยุกต์ใช้กับอุตสาหกรรมทุกประเภทที่ต้องมีใช้วิศวกรรมศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้อง


 

Table of Contents

content

บทบรรณาธิการ PDF
ศาสตราจารย์ ดร. ปิยะสาร ประเสริฐธรรม
สารบัญ PDF
ej editorial team

หมวด เทคโนโลยีทางวิศวกรรม

การลดข้อบกพร่องในกระบวนการปรับแต่งสีของโรงงานผลิตสีผง (Defect Reduction for Adjustment Color Process of Powder Coating Paint ) PDF
อัจฉรียา วังวิเศษ, จิตรา รู้กิจการพานิช 1-16
การจำลองการเคลื่อนไหวของกลุ่มคนโดยใช้เรบกราฟ (Crowd Animation Using Reeb Graph) PDF
ศรัณย์ ศิลปภิรมย์สุข, พิษณุ คนองชัยยศ 17-32
ไทยลิปซิงค์:การจับคู่การเคลื่อนไหวของริมฝีปากตามเสียงพูดภาษาไทย (Thai Lip-sync : Mapping Lip Movement to Thai Speech) PDF
ทวีศักดิ์ ชื่นสายชล, พิษณุ คนองชัยยศ, ชัย วุฒิวิวัฒน์ชัย 33-42
การแปลงรูปหลายเหลี่ยมสามมิติให้เป็นรูปเรขาคณิตปฐมฐานด้วยเรบกราฟ (3D Polygonal Mesh to Primitive Conversion Using Reeb Graph) PDF
ทรงพล อัตตสิริลักษณ์, พิษณุ คนองชัยยศ 43-52

หมวด วิศวกรรมพลังงาน

การบำบัดและการแยกน้ำเสียปนเปื้อนน้ำมันปาล์มด้วยกระบวนการอิเล็กโทรสตาติกโคอะเลสเซอร์ (Treatment and Separation of Palm oily-wastewater by Electrostatic Coalescer process) PDF
สุดสิริ ฐิตสุภวัฒน์, พิสุทธิ์ เพียรมนกุล 53-68
ผลของอัตราภาระสารอินทรีย์ต่อสมรรถนะของระบบแอนแอโรบิกฟลูอิดไดซ์เบดที่ใช้เม็ดยางเป็นวัสดุตัวกลาง (Effect of Organic Loading Rate on Performance of Anaerobic Fluidized Bed Using Rubber Granule as a Media) PDF
พัชรียา รุ่งกิจวัฒนานุกูล, วิบูลย์ลักษณ์ พึ่งรัศมี, ชัยพร ภู่ประเสริฐ 69-79


Creative Commons License
This work is licensed under a Creative Commons Attribution 3.0 License.